Home
Research and Training
Core Research and Innovation Center
Research Group
Research Themes
RESEARCH FACT
Research Spotlight
Publications and innovations
News & Events
Office of Research and Innovation
About Us – เกี่ยวกับเรา
Personnel – บุคลากร
Service – บริการ
Knowledge management – การจัดการองค์ความรู้
Contact Us – ติดต่อเรา
Home
Research and Training
Core Research and Innovation Center
Research Group
Research Themes
RESEARCH FACT
Research Spotlight
Publications and innovations
News & Events
Office of Research and Innovation
About Us – เกี่ยวกับเรา
Personnel – บุคลากร
Service – บริการ
Knowledge management – การจัดการองค์ความรู้
Contact Us – ติดต่อเรา
June 14, 2022
Day
14
Jun
จุฬาฯ วิจัย “ภาวะฟันหาย” ในคนไทย เหตุจากความผิดปกติของยีนถ่ายทอดได้ทางพันธุกรรม
14 June 2022
งานวิจัยทางทันตกรรม จุฬาฯ เผยคนไทยมีภาวะฟันหายมากกว่าต่างชาติ ในคนไทย 100 คน จะมีผู้ที่มีภาวะฟันหาย 9 คน หนึ่งปัจจัยสำคัญมาจากความผิดปกติของยีนซึ่งถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ “ฟันผุ เหงือกอักเสบ มีแผลในช่องปาก” เป็นความผิดปกติในช่องปากที่หลายคนคุ้นเคยและได้รับการรักษาจากทันตแพทย์กันอยู่เป็นประจำ แต่ภาวะ “ฟันหาย” เป็นความผิดปกติที่น้อยคนจะรู้จัก แต่ก็พบได้ในคนไทยจำนวนไม่น้อย จากสถิติทั่วโลกและในเอเชีย พบผู้ที่มีภาวะฟันหาย จำนวน 6% ในขณะที่อุบัติการณ์ของภาวะนี้ในคนไทยมีมากกว่านั้น จากงานวิจัยที่ผ่านมาของมหาวิทยาลัยพิษณุโลกและมหาวิทยาลัยขอนแก่น พบคนไทยมีภาวะฟันหายถึง26% และ 13% ตามลำดับ ทพญ.ชรินญา กาญจนเสวี มหาบัณฑิตคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาวะฟันหายในคนไทยเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมหรือไม่ และจากยีนตัวใด? เป็นโจทย์วิจัยของ ทพญ.ชรินญา กาญจนเสวี มหาบัณฑิตคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ศึกษาเรื่อง “ความชุกและลักษณะเฉพาะของภาวะฟันหายในผู้ป่วยไทยและการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับภาวะฟันหายในครอบครัวไทย” ซึ่งได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่นของนิสิตระดับปริญญาโท ปี 2564 สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ จากจุฬาฯ ภาวะ “ฟันหาย” และผลกระทบต่อสุขภาพ ภาวะฟันหายหมายถึงการไม่มีฟันตั้งแต่กำเนิด โดยไม่พบหน่อฟันแท้ (tooth bud) ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ในกระดูกขากรรไกรภาวะฟันหายตรวจพบได้จากการเอกซเรย์ฟันโดยทันตแพทย์เท่านั้น “การที่ฟันหายไปหนึ่งซี่ก็ถือว่าเป็นผู้ที่มีภาวะฟันหายแล้ว ที่ผ่านมา งานวิจัยของไทย ส่วนใหญ่พบภาวะฟันหายบริเวณฟันกรามน้อยล่างซี่ที่สอง...
Read More
Recent Posts
พบกับการบรรยายพิเศษ “3D-printed bone substitutes: when microarchitecture meets bone biology”
นิสิตปริญญาเอกจุฬาฯ คว้ารางวัล “2025 IADR John A. Gray Fellowship” ด้านวิจัยทันตแพทยศาสตร์
FDCU Publication Camp 2025: ก้าวไปด้วยกัน สู่ความเป็นเลิศทางวิจัย
คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลจากเวที AAP-JSP/JACP
นิสิตทันตแพทย์ จุฬาฯ คว้า 2 รางวัลจากเวที DAT Research Competition 2025
Categories
News
Publications and Innovations
ไม่มีหมวดหมู่